Author Topic: A slightly different 'where are they now' destination  (Read 2375 times)

Mickey Nuttells Hair

  • Sr. Member
  • ****
  • Posts: 449
    • View Profile
A slightly different 'where are they now' destination
« on: December 28, 2012, 09:24:53 PM »
Jamie Clarke, Guiseley AFC to.... Chang Mai, Thailand.

http://guiseleyafc.co.uk/2012/12/28/jamie-clarke-leaves-for-thailand/

York Street Pilgrim

  • Veteran Member
  • *****
  • Posts: 812
    • View Profile
Re: A slightly different 'where are they now' destination
« Reply #1 on: December 28, 2012, 10:45:02 PM »

For anyone interested in the history of Chiang Mai Football Club, here is an extract from their official website ...

Quote
สโมสร "ฟุตบอลเชียงใหม่" ถือกำเนิดขึ้นภายใต้ชื่อ สโมสรฟุตบอลจังหวัดเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2542 ในยุคของฟุตบอลอาชีพนำร่อง โดยเริ่มต้นเล่นฟุตบอล "โปรวินเชียลลีก" ตั้งแต่ยุก่อตั้ง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ ตามที่ กกท. ได้เตรียมไว้ให้กับทุกทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน โดยใช้ชื่อว่า สโมสรเชียงใหม่คาริเบลอ ในยุคนั้น จะมีนักเตะชื่อดังหลายราย ไม่ว่าจะเป็น ศุภกิจ จินะใจ , บัณฑิต เพรชอำไพ , พีรยุทธ ทองศรี ร่วมทัพ โดยอันดับที่ดีที่สุดคือ อันดับที่ 4 ในโปรลีก โดยการคุมทัพโดย น้าติ๊ก สมชาติ ยิ้มศิริ

 พ.ศ. 2550 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้มีการวมโปรเฟสชั่นแนลลีกลีกกับฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีกเข้ามาร่วมกัน ทางสโมสรฟุตบอลของจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้เข้าร่วมในการแข่งขัน ฟุตบอลลีกดิวิชั่น 2 โดยภายใต้การนำของ เสี่ยตั่ว เจ้าของร้านวนัสนันท์ ของฝากจากเชียงใหม่ โดยได้ใช้ชื่อ สโมสรเชียงใหม่เอฟซี เข้าร่วมการแข่งขัน และปี 2551 ทาง AFC ได้ลงมาดูแลเรื่องการจดทะเบียนให้เป็นนิติบุคคล ทางฝ่ายบริหารจึงเปลี่ยนแปลงชื่อเป็น เชียงใหม่ยูไนเต็ด เข้าร่วมการแข่งขันเรื่อยมา

 2552 ได้มีการสร้างลีกภูมิภาค ซึ่งเป็นลีก D2 ที่รองรับ การแข่งขันในแต่ละภูมิภาค เชียงใหม่ ได้ส่งทีมเข้าร่วมในนามของเชียงใหม่ยูไนเต็ด แต่เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล จบด้วยอันดับที่อยู่ท้ายของตารางการแข่งขัน

2553 นั้นทางสมาคมกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ได้ประชุมและได้ตกลงว่าจะทำการส่งแข่งขันเอง โดยใช้ชื่อว่า เชียงใหม่ เอฟซี มีฉายาว่า "พยัคฆ์ล้านนา" ซึ่งผู้ที่เข้ามารับตำแหน่งประธานสโมสรคือ ดร.อุดรพันธ์ จันทรวิโรจน์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ ที่มาที่ไปของการก่อตั้ง ทีมเชียงใหม่ เอฟซี ขึ้นมานั้น เกิดจาก เมื่อวันที่ 1 ต.ค.52 คณะกรรมการผู้บริหารสมาคมกีฬา จ.เชียงใหม่ ได้มีการจัดประชุมในวาระ เรื่องการส่งทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 ในปี 53 ซึ่งที่ประชุม มีมติให้มีการจดทะเบียนสโมสรฟุตบอลในจังหวัดขึ้นมาใหม่ ภายใต้ชื่อว่า "บริษัท ไทเกอร์ เชียงใหม่" เป็นทีมสโมสรเชียงใหม่ เอฟซี เนื่องจาก เดิมทีเป็นทีมฟุตบอลสโมสรเชียงใหม่ ยูไนเต็ด ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันในรายการนี้ แต่หลังจบฤดูกาลเกิดปัญหาหลายอย่างภายในทีม และทีมเชียงใหม่ เอฟซี จึงได้สิทธิ์ส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลลีกภูมิภาคดิวิชัน 2 โซนภาคเหนือฤดูกาล 2010 ในที่สุด

2553 นี้เอง สโมสรเชียงใหม่เอฟซี ก็กลับมาครองความยิ่งใหญ่ ด้วยการคว้าอันดับ 1 ลีกภูมิภาคโซนภาคเหนือ และอันดับที่ 3 รอบแชมป์เปี้ยนลีกรอบสุดท้าย สามารถคว้าตั๋วเพื่อขึ้นเล่นขึ้นไปเล่น ดิวัชั่น 1 ในฤดูกาล 2554 แต่ในฤดูกาล 2554 เชียงใหม่เอฟซี เมื่อจบฤดูกาลในอันดับที่ 16 ของตาราง D1 ทำให้ในฤดูกาล 2555 ต้องลดชั้นลงมาเล่น ลีกภูมิภาคโซนภาคเหนือในปัจจุบัน

It makes me wonder how someone like Jamie Clarke will cope with the language barrier. Will anyone there be able to understand the Wearside accent?

Seenbetter

  • Guest
Re: A slightly different 'where are they now' destination
« Reply #2 on: December 28, 2012, 11:33:53 PM »
What language barrier ? He has played at Boston United Football Ground and been verbally abused by some 'supporters'. He will understand a lot of the mumbling, grumbling language from his experience here.